วัน-เวลา *ประเทศไทย Origin Time |
ขนาด Magnitude |
Latitude | Longitude | ลึก Depth |
บริเวณศูนย์กลาง Region |
|
2025-01-26 09:21:07 2025-01-26 02:21:07 UTC |
2.8 | 21.355°N | 98.868°E | 7 | ประเทศเมียนมา Myanmar |
|
2025-01-26 00:58:05 2025-01-25 17:58:05 UTC |
1.4 | 19.449°N | 98.456°E | 1 | ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน Tambon Wiang Nuea, Amphoe Pai, MaeHongSon |
|
2025-01-25 14:11:26 2025-01-25 07:11:26 UTC |
4.1 | 20.399°N | 95.274°E | 10 | ประเทศเมียนมา Myanmar |
|
2025-01-24 02:23:31 2025-01-23 19:23:31 UTC |
5.1 | 24.632°N | 95.202°E | 121 | พรมแดนประเทศเมียนมา - ประเทศอินเดีย Myanmar - India Border Region |
|
2025-01-23 19:56:18 2025-01-23 12:56:18 UTC |
0.7 | 18.609°N | 99.251°E | 2 | ต.แม่ทา อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ Tambon Mae Tha, Amphoe MaeOn, ChiangMai |
|
2025-01-23 14:28:16 2025-01-23 07:28:16 UTC |
2.7 | 18.588°N | 99.273°E | 2 | ต.แม่ทา อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ Tambon Mae Tha, Amphoe MaeOn, ChiangMai |
|
2025-01-22 05:45:44 2025-01-21 22:45:44 UTC |
2.2 | 19.492°N | 98.465°E | 1 | ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน Tambon Wiang Nuea, Amphoe Pai, MaeHongSon |
|
2025-01-22 03:02:53 2025-01-21 20:02:53 UTC |
1.4 | 19.453°N | 98.446°E | 2 | ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน Tambon Wiang Nuea, Amphoe Pai, MaeHongSon |
|
2025-01-22 02:57:36 2025-01-21 19:57:36 UTC |
2.6 | 21.686°N | 99.562°E | 10 | ประเทศเมียนมา Myanmar |
|
2025-01-21 12:35:04 2025-01-21 05:35:04 UTC |
1.9 | 19.456°N | 98.451°E | 1 | ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน Tambon Wiang Nuea, Amphoe Pai, MaeHongSon |
|
2025-01-21 12:22:26 2025-01-21 05:22:26 UTC |
2.2 | 19.482°N | 98.477°E | 3 | ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน Tambon Wiang Nuea, Amphoe Pai, MaeHongSon |
|
2025-01-21 11:50:16 2025-01-21 04:50:16 UTC |
3.1 | 17.89°N | 96.169°E | 10 | ประเทศเมียนมา Myanmar |
|
2025-01-21 10:31:55 2025-01-21 03:31:55 UTC |
2.9 | 17.077°N | 101.611°E | 1 | ต.ภูหอ อ.ภูหลวง จ.เลย Tambon Phu Hor, Amphoe PhuLuang, Loei |
|
2025-01-21 10:30:11 2025-01-21 03:30:11 UTC |
2.0 | 19.387°N | 98.445°E | 2 | ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน Tambon Wiang Nuea, Amphoe Pai, MaeHongSon |
|
2025-01-21 10:19:18 2025-01-21 03:19:18 UTC |
2.4 | 19.463°N | 98.45°E | 3 | ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน Tambon Wiang Nuea, Amphoe Pai, MaeHongSon |
|
ความลึก (Depth) หน่วยเป็น กิโลเมตร (Km.) |
>> แผ่นดินไหวในประเทศและใกล้เคียงทั้งหมด |
Seismic Hazard Microzonation Map for the Central Plain of Thailand |
|
Evaluation of effect on the building at Earthquake Observation Division using Microtremor analysis: A case study of M6.0 earthquake affecting Thailand |
|
เอกสารวิชาการ : ความสัมพันธ์ระหว่างการสั่นสะเทือนของพื้นดินและความรุนแรงของแผ่นดินไหวในประเทศไทย |
|
เอกสารวิชาการ : การพัฒนาโปรแกรมจำลองการเดินทางของคลื่นสั่นสะเทือนแบบเวลาจริง : เพื่อประยุกต์ใช้สำหรับแจ้งเตือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย |
|
เอกสารวิชาการ : การวิเคราะห์เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยและพื้นที่ใกล้เคียง เดือน มกราคม - มิถุนายน 2565 |
|
เอกสารวิชาการ : การวิเคราะห์ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหวของกรมอุตุนิยมวิทยา เดือน มกราคม - มิถุนายน 2565 |
|
แผนที่โอกาสเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวสำหรับบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย |
|
ขนาดของแผ่นดินไหวจากรูปคลื่นที่บันทึกได้มาตราโมเมนต์ อีกทางเลือกหนึ่งในการรายงานขนาดของแผ่นดินไหวจากรูปคลื่นที่บันทึกได้ของกรมอุตุนิยมวิทยา สำหรับเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียง |
|
แผนที่โอกาสเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในจังหวัดเชียงราย |
|
บทความ : แผ่นดินไหวเกาะบริสตอล วันที่ 11 ธันวาคม 2561 |
|
เอกสารวิชาการ : การพัฒนาโปรแกรมจำลองการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวแบบเวลาจริง : เพื่อประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว |
|
เอกสารวิชาการ : ความรู้พื้นฐานด้านแผ่นดินไหวและสึนามิ |
|
ข้อปฏิบัติ ป้องกันภัยแผ่นดินไหว สึนามิ |
|
ภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย และการเตรียมพร้อมรับมือ |
ภัยแผ่นดินไหวยังคงเป็นภัยธรรมชาติที่ยังไม่สามารถพยากรณ์ได้ การป้องกันและบรรเทาภัยแผ่นดินไหวที่มีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีและความรู้ในปัจจุบัน จำเป็นต้องการข้อมูลความสั่นสะเทือนของพื้นดินที่ถูกต้องจากระบบตรวจวัดที่มีมาตรฐาน สำหรับงานด้านแผ่นดินไหวและวิศวกรรมแผ่นดินไหว ปัจจุบันหน่วยงานที่มีระบบเครื่อข่ายตรวจความสั่นสะเทือนในระดับชาติและเป็นมาตรฐานสากล ได้แก่ กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ทำหน้าที่ในการตรวจและวิเคราะห์แผ่นดินไหวทั้งภายในและต่างประเทศ โดยมีเครือข่ายสถานีตรวจแผ่นดินไหวแบบอัตโนมัติ สถานีตรวจวัดอัตราเร่งของพื้นดิน สถานีวัดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก และสถานีวัดระดับน้ำทะเล ติดตั้งอยู่ทั่วประเทศไทย เพื่อตรวจวัด เฝ้าระวัง และให้บริการข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องภัยแผ่นดินไหวในประเทศอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง ตลอดจนแจ้งเตือนภัยให้กับพื้นที่เสียงภัยกรณีเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ในทะเล
การเตรียมการล่วงหน้าเพื่องานป้องกันภัยแผ่นดินไหว เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งจำเป็นต้องเตรียมพร้อมก่อนล่วงหน้าเหตุการณ์ ขณะเกิดเหตุการณ์ และหลังเหตุการณ์ จำเป็นต้องมีการวางแผน ทั้งทางด้านนโยบาย ด้านปฏิบัติการ ด้านวิชาการ วิเคราะห์วิจัย และด้านมวลชนเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อเกิดภัย เว็บไซต์นี้เป็นส่วนหนึ่งที่จะบรรลุถึง วัตถุประสงค์ และภารกิจ ข้างต้น แม้ว่าจากสถิติในอดีตประเทศไทยจัดว่าอยู่ในบริเวณที่มีความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวน้อยกว่าบริเวณอื่นๆ ของโลก แต่มิได้หมายความว่า ประเทศไทยปลอดภัยจากภัยแผ่นดินไหว