![]() |
2022-05-26 11:18:43 : แผ่นดินไหว 26 พ.ค. 2565 เวลา 10:58 น. ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว จ.เชียงราย(19.756°N,99.683°E) ขนาด 2.9
ได้รับแจ้งรู้สึกสั่นไหวบริเณ อ.แม่สรวย อ.แม่ลาว จ.เชียงราย
|
![]() |

![]() |
![]() |
![]() |
วัน-เวลา *ประเทศไทย | ขนาด | Latitude degrees |
Longitude degrees |
ลึก Km. |
บริเวณศูนย์กลาง | |
2022-05-27 09:20:10 2022-05-27 02:20:10 UTC |
4.8 | 13.041°N | 93.259°E | 10 | หมู่เกาะอันดามัน ประเทศอินเดีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี ประมาณ 647 กม. |
|
2022-05-26 22:58:21 2022-05-26 15:58:21 UTC |
1.0 | 19.713°N | 99.696°E | 5 | ต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย |
|
2022-05-26 10:58:26 2022-05-26 03:58:26 UTC |
2.9 | 19.756°N | 99.683°E | 1 | ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว จ.เชียงราย |
![]() |
2022-05-26 04:33:40 2022-05-25 21:33:40 UTC |
2.7 | 19.699°N | 99.517°E | 8 | ต.แม่สรวย อ.แม่สรวย จ.เชียงราย |
|
2022-05-24 22:28:40 2022-05-24 15:28:40 UTC |
1.2 | 19.782°N | 99.723°E | 4 | ต.ป่าก่อดำ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย |
|
2022-05-24 16:26:26 2022-05-24 09:26:26 UTC |
1.5 | 19.494°N | 99.516°E | 1 | ต.ท่าก้อ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย |
|
2022-05-23 20:50:08 2022-05-23 13:50:08 UTC |
2.2 | 20.346°N | 98.283°E | 5 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 92 กม. |
|
2022-05-23 07:01:11 2022-05-23 00:01:11 UTC |
2.7 | 21.464°N | 98.51°E | 10 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ประมาณ 183 กม. |
|
2022-05-22 19:09:40 2022-05-22 12:09:40 UTC |
2.3 | 19.571°N | 101.357°E | 1 | ประเทศลาว ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ บ้านน้ำช้าง ต.ขุนน่าน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน ประมาณ 16 กม. |
|
2022-05-22 03:43:57 2022-05-21 20:43:57 UTC |
3.4 | 21.407°N | 98.542°E | 9 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ประมาณ 176 กม. |
|
2022-05-21 10:14:07 2022-05-21 03:14:07 UTC |
4.5 | 22.85°N | 93.448°E | 28 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 613 กม. |
|
2022-05-20 22:51:31 2022-05-20 15:51:31 UTC |
1.9 | 21.165°N | 99.877°E | 5 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ประมาณ 81 กม. |
|
2022-05-20 09:51:09 2022-05-20 02:51:09 UTC |
2.3 | 18.07°N | 97.579°E | 1 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.สบเมย จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 39 กม. |
|
2022-05-19 18:02:30 2022-05-19 11:02:30 UTC |
3.6 | 21.328°N | 98.563°E | 10 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ประมาณ 169 กม. |
|
2022-05-18 22:36:44 2022-05-18 15:36:44 UTC |
3.7 | 18.687°N | 94.763°E | 10 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ประมาณ 335 กม. |
|
2022-05-18 21:47:46 2022-05-18 14:47:46 UTC |
2.0 | 19.201°N | 101.449°E | 3 | ประเทศลาว ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ บ้านน้ำช้าง ต.ขุนน่าน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน ประมาณ 46 กม. |
|
2022-05-18 17:29:31 2022-05-18 10:29:31 UTC |
4.1 | 21.351°N | 98.559°E | 10 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ประมาณ 171 กม. |
|
2022-05-18 06:50:02 2022-05-17 23:50:02 UTC |
4.5 | 21.351°N | 98.51°E | 16 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ประมาณ 175 กม. |
|
2022-05-18 05:49:50 2022-05-17 22:49:50 UTC |
5.0 | 21.747°N | 98.49°E | 10 | ประเทศเมียนมา ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ประมาณ 205 กม. |
|
2022-05-16 23:14:57 2022-05-16 16:14:57 UTC |
3.8 | 7.336°N | 94.801°E | 132 | หมู่เกาะนิโคบาร์ ประเทศอินเดีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ อ.เมือง จ.ภูเก็ต ประมาณ 400 กม. |
|
แผ่นดินไหวในประเทศและใกล้เคียงทั้งหมด |
![]() |
เอกสารวิชาการ : การวิเคราะห์เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยและพื้นที่ใกล้เคียง เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2564 |
![]() |
เอกสารวิชาการ : การวิเคราะห์ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหวของกรมอุตุนิยมวิทยา เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2564 |
![]() |
บทความ : การพัฒนาระบบแจ้งเตือนแผ่นดินไหวแบบอัตโนมัติผ่านแอพลิเคชันไลน์ |
![]() |
ขนาดของแผ่นดินไหวจากรูปคลื่นที่บันทึกได้มาตราโมเมนต์ อีกทางเลือกหนึ่งในการรายงานขนาดของแผ่นดินไหวจากรูปคลื่นที่บันทึกได้ของกรมอุตุนิยมวิทยา สำหรับเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียง |
![]() |
แผนที่โอกาสเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในจังหวัดเชียงราย |
![]() |
เอกสารวิชาการ : โครงการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านแผ่นดินไหว |
![]() |
บทความ : แผ่นดินไหวเกาะบริสตอล วันที่ 11 ธันวาคม 2561 |
![]() |
เอกสารวิชาการ : การพัฒนาโปรแกรมจำลองการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวแบบเวลาจริง : เพื่อประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว |
![]() |
เอกสารวิชาการ : ความรู้พื้นฐานด้านแผ่นดินไหวและสึนามิ |
![]() |
ข้อปฏิบัติ ป้องกันภัยแผ่นดินไหว สึนามิ |
![]() |
ภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย และการเตรียมพร้อมรับมือ |
ภัยแผ่นดินไหวยังคงเป็นภัยธรรมชาติที่ยังไม่สามารถพยากรณ์ได้ การป้องกันและบรรเทาภัยแผ่นดินไหวที่มีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีและความรู้ในปัจจุบัน จำเป็นต้องการข้อมูลความสั่นสะเทือนของพื้นดินที่ถูกต้องจากระบบตรวจวัดที่มีมาตรฐาน สำหรับงานด้านแผ่นดินไหวและวิศวกรรมแผ่นดินไหว ปัจจุบันหน่วยงานที่มีระบบเครื่อข่ายตรวจความสั่นสะเทือนในระดับชาติและเป็นมาตรฐานสากล ได้แก่ กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ทำหน้าที่ในการตรวจและวิเคราะห์แผ่นดินไหวทั้งภายในและต่างประเทศ โดยมีเครือข่ายสถานีตรวจแผ่นดินไหวแบบอัตโนมัติ สถานีตรวจวัดอัตราเร่งของพื้นดิน สถานีวัดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก และสถานีวัดระดับน้ำทะเล ติดตั้งอยู่ทั่วประเทศไทย เพื่อตรวจวัด เฝ้าระวัง และให้บริการข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องภัยแผ่นดินไหวในประเทศอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง ตลอดจนแจ้งเตือนภัยให้กับพื้นที่เสียงภัยกรณีเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ในทะเล
การเตรียมการล่วงหน้าเพื่องานป้องกันภัยแผ่นดินไหว เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งจำเป็นต้องเตรียมพร้อมก่อนล่วงหน้าเหตุการณ์ ขณะเกิดเหตุการณ์ และหลังเหตุการณ์ จำเป็นต้องมีการวางแผน ทั้งทางด้านนโยบาย ด้านปฏิบัติการ ด้านวิชาการ วิเคราะห์วิจัย และด้านมวลชนเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อเกิดภัย เว็บไซต์นี้เป็นส่วนหนึ่งที่จะบรรลุถึง วัตถุประสงค์ และภารกิจ ข้างต้น แม้ว่าจากสถิติในอดีตประเทศไทยจัดว่าอยู่ในบริเวณที่มีความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวน้อยกว่าบริเวณอื่นๆ ของโลก แต่มิได้หมายความว่า ประเทศไทยปลอดภัยจากภัยแผ่นดินไหว
![]() |
![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() ![]() |